วันพฤหัสบดีที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2554

วันอังคารที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2554

ครั้งที่ 13 วันอังคาร ที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2554

อาจารย์เข้าสอนเวลา 13:00

สิ่งที่ีอยู่รอบตัว

เรื่องราวเกี่ยวกับเด็ก

บุคคลและสถานที่

ธรรมชาติ

กาย

อารมณ์-จิตใจ

สังคม

ภาษา

สมรรถนะ

คณิตศาสตร์

วิทยาศาสตร์

คิดสร้างสรรค์


ภาษา ฟัง=>พูด=>อ่าน=>เขียน

ประสบการณ์สำคัญทางวิทยาสาสตร์คือ

1.ตั้งสมมติฐาน

2.ทดลอง

3.เก็บข้อมูล

4.สรุปผล


ทักษะวิทยาศาสตร์ =>ทดลอง=>แยกแยะ=>จำแนก=>สรุปผลการทดลอง

วันอังคารที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2554

ครั้งที่ 12 วันอังคาร ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2554

สาระสำคัญ
1.สิ่งที่อยู่รอบตัว
2.ครอบครัว
3.ธรรมชาติ
4.ชุมชน
ดู VDO เรื่องน้ำ
มหัศจรรย์ของน้ำ
น้ำเป็นส่วนประกอบของร่างกาย สิ่งต่างๆบนโลกมีน้ำเป็นส่วนประกอบ มีน้ำ 70% ผลไม้ 90% คนเราจะขาดน้ำได้ไม่เกิน 3 วัน
อูฐขาดน้ำได้ 10 วัน หลังอูฐมีไขมันไขมันเปลี่ยนเป็นน้ำไปหล่อเลี้ยงร่างกาย น้ำในร่างกายจะช่วยปรับสมดุล
น้ำมี 3 สถานะ 1. ของแข็ง 2. ของเหลว 3. ก๊าซ ของแข็งเป็นของเหลวของเหลวกลายเป็นไอ
ฝน คือ ไอน้ำที่ละเหยลงมาจากท้องฟ้า
น้ำขยายตัวเมื่อเปลี่ยนสถานะ สะสารทุกชนิดในโลกนี้มีโมเลกุลเป็นส่วนประกอบ
น้ำจะมีโมเลกุลมากกว่าน้ำแข็ง
เมื่อน้ำกลายตัวเป็นน้ำแข็งจะขยายตัวเพิ่มขึ้น 12%
น้ำเกลือจะมีความหนาแน่นกว่าน้ำเปล่า

วันพฤหัสบดีที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2554

ครั้งที่ 11 วันอังคารที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2554

วิทยาศาสตร์เป็นสิ่งที่อยู่รอบตัวเรา
แกนกระดาษทิชชู่=>วิทยาศาสตร์-ทำให้เกิดพลังงาน
-สิ่งที่อยู่รอบตัว
-ผลิตจากธรรมชาติ
-เปลี่ยนแปลงได้
-มีผลกระทบต่อการดำเนินชีวิต-ต้นไม้-ขยะ-ทรัพยากร
แก้ปัญหา=>ใช้ประโยชน์=>อย่าใช้เยอะ
=>ใช้ใหม่=>ขาย=>เปลี่ยน/ประยุกต์



วันพุธที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2554

ครั้งที่ 10 วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2554














วัสดุ ภาชนะ
-แกนทิชชู่ -กล่องนม
-ฝาขวดน้ำ -กล่องยาสีฟัน
-หลอด -กระป๋อง
-ปากกา -ลัง
-กระดาษ –แก้วน้ำ










โครงการ

ปลา IIII = 4

ช้าง I = 1

กล้วย IIIII = 5

สุนัข IIIII = 5

ดอกไม้ IIIII IIIII IIIII = 15











บุคคล สถานที่
___________________________
คนขาย 1.สวนดอกไม้
คนสวน 2.ร้านขายดอกไม้
3.ห้องสมุด
4.ร้านขายของที่ระลึก
5.ร้านขายของฝาก
เคลื่อนไหวและจังหวะ
แต่งเพลง
= ดอกไม้
เคลื่อนไหว
เสริมประสบการณ์
เชิญ
ไปดู=>ทิศทาง(แผนที่เดินทาง)
ศิลปะ
-วาดรูป
-พิมพ์
-ประดิษฐ์
-แต่งนิทานร่วมกัน
-ปั้น
-ประกอบอาหาร(ดอกไม้ชุบแป้งทอด)
สรุป
1.นิทรรศการ 2.เพลง 3.นิทาน 4.แผนที่
5.งานประดิษฐ์ 6.ส่วนประกอบ 7.อาหารที่เราทำ 8.เกม


วันพฤหัสบดีที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2554

ครั้งที่ 9 วันอังคารที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2554



















วัสดุ ภาชนะ
-แกนทิชชู่ -กล่องนม
-ฝาขวดน้ำ -กล่องยาสีฟัน
-หลอด -กระป๋อง
-ปากกา -ลัง
-กระดาษ -แก้วน้ำ






















โครงการ


ปลา IIII = 4


ช้าง I = 1


กล้วย IIIII = 5


สุนัข IIIII = 5


ดอกไม้ IIIII IIIII IIIII = 15



















วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2554

ครั้งที่ 8 วันอังคารที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2554

อาจารย์ให้นักศึกษาส่งของเล่นวิทยาศาสตร์ที่แต่ละคนประดิษฐ์มา และนำเสนอว่า เป็นวิทยาศาสตร์อย่างไร


ตุ๊กตาตีลังกา กลมๆ กลิ้งๆ

อุปกรณ์
กระดาษ
กาว
กรรไกร
สีลูกแก้ว
พื้นลาดเอียง (ให้ตุ๊กตาม้วนตัวตีลังกาเล่น)
วิธีทํา
1. ตัดกระดาษแข็งขนาด 2 X 12 เซนติเมตร
2. ทากาวที่ปลายด้านหนึ่งของกระดาษ นํามาประกบติดปลายอีกข้างให้ได้วงรี
3. ตัดกระดาษขนาด 9 X 3 เซนติเมตร
4. ทากาวที่ปลายอีกด้านหนึ่ง นําไปหุ้มกระดาษวงรีที่เตรียมไว้ใส่ลูกแก้วไว้ข้างใน

5. วาดรูประบายสีตกแต่งให้สวยงาม ตุ๊กตาก็พร้อมจะไป ตีลังกาบนทางลาดเล่นแล้ว
ข้อควรระวัง
ลูกแก้วกลมกลิ้ง ไม่เหมาะสําหรับเด็กเล็ก อาจหยิบเข้าปากได้
สิ่งที่เด็กได้รับ
+ ฝึกกล้ามเนื้อมัดเล็กในการวัด - ตัดกระดาษ
+ การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า หากตุ๊กตาไม่ยอมตีลังกา
+ ความคิดสร้างสรรค์ และใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
อาจารย์ติดประชุม จึงให้ดู VDO เรื่องของแสง แล้วสรุป

สรุปเรื่อง แสง
แสงเป็นพลังงานรูปหนึ่ง เดินทางในรูปคลื่นด้วยอัตราเร็วสูง 300,000 กิโลเมตรต่อวินาที
การเคลื่อนที่ของแสง แสงเคลื่อนที่เป็นเส้นตรง

วันพฤหัสบดีที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2554

ครั้งที่ 7 วันอังคารที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2554

วันนี้อาจารย์ให้ส่งงาน
1.ส่งตารางที่อาจารย์ให้ไปทำมา4แผ่น

2.ส่งโครงการที่อาจารย์ให้ไปเขียนมาคนละหนึ่งโครงการ
3.อาจารย์ให้ออกไปนำเสนอของเล่นที่ประดิษฐ์จากเศษวัสดุเหลือใช้

วันอังคารที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

ครั้งที่ 6 วันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

วันนี่อาจารย์เข้าสอน 13:00

อาจารย์ให้ส่งงาน หลักการและเหตุผล ลด ละ เลิกสิ่งเสพติด

อาจารย์พูดถึงเรื่องการเขียนหลักการและเหตุผล ของหัวข้อ ลด ละ เลิกสิ่งเสพติดกิจกรรมที่ทำเมื่อวันพุธที่ผ่านมา

1.เดินรณรงค์ 2.การทดลอง 3.เขียนการ์ด 4.แต่งเพลง

อาจารย์พูดถึงการสอนวิทยาศาสตร์ว่าเด็กได้อะไรบ้าง

ได้ความรู้=>ทดลอง

หัวใจของวิทยาศาสตร์ คือ ทักษะกระบวนความรู้ทางวิทยาศาสตร์

ได้ข้อความรู้จากบอร์ด => ได้เนื้อหาความรู้ทางไปรษณียบัตร





ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางิทยาศาสตร์ เป็นทักษะที่ส่งเสริมใหห้เด็กปฐมวัยสามารถคิดหาเหตุผล แสวงหาความรู้ สามารถแก้ปัญหาได้ตามวัยของเด็ก ความหมายทักษะการสังเกตุ
ทักษะการสังเกตุ [Observation] หมายถึง การใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างมารวมกัน เช่น ตา หู จมูก ปาก ลิ้น และผิวกายเข้าไปสัมผัสโดยตรงกับวัตถุหรือเหตุการณ์โดยมีจุดประสงค์ที่จะหาข้อมูล ซึ่งเป็นรายละเอียดดังนี้
1.การสังเกตุรูปร่างลักษณะและคุณสมบัติทั่วไป
2.การสังเกตุควบคู่กับการวัดเพื่อทราบปริมาณ
ความหมายของทักษะการจำแนกประเภท
ทักษะการจำแนกประเภท [Classifying] หมายถึง ความสามารถในการแบ่งประเภทสิ่งของโดยหาเกณฑ์ Criteria
1.ความเหมือน
2.ความแตกต่าง
3.ความสัมพันธ์ร่วม
ความหมายทักษะการวัด
ทักษะการวัด [Measurement] หมายถึง การใช้เครื่องมือต่างๆ วัดหาปริมาณของสิ่งที่เราต้องการทราบได้อย่างถูกต้องโดยมีหน่วยการวัดกำกับ
1.รู้จักกับสิ่งของที่จะวัด
2.การเลือกเครื่องมือที่นำมาใช้วัด
3.วิธีการที่เราจะวัด
ทักษะการสื่อความหมาย Cummunication หมายถึง การพูด การเขียนรูปภาพ และภาษาท่าทางการแสดงสีหน้า ความสามารถรับข้อมูลได้อย่างถูกต้องและชัดเจน

1.บรรยายลักษณะคุณสมบัติของวัตถุ

2.บันทึกการเปลี่ยนแปลงของวัตถุได้

3.บอกความสัมพันธ์ของข้อมูลที่ได้จัดกระทำ

4.จัดกระทำข้อมูลในรูปแบบต่างๆ

ความหมายของทักษะการลงความเห็นจากข้อมุล

การลงความเห็นจากข้อมูล [Infering] หมายถึง การเพิ่มเติมความคิดเห็นให้กับข้อมูลที่มีอยู่อย่างมีเหตุผลโดยอาศัยความรู้หรือประสบการณ์

ความหมายทักษะความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับเวลา space หมายถึง การรู้จักเรียนรู้ 1 มิติ 2 มิติ 3 มิติ การเขียนภาพ 2 มิติ แทนรูป 3 มิติ การบอกทิศทาง การบอกเงาที่เกิดจากภาพ 3 มิติ การเห็นและเข้าใจภาพที่เกิดบนกระจกเงา การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับเวลาสำหรับเด็กปฐมวัย
1.ชี้บ่งภาพ 2 มิติ 3 มิติ
2.บอกความสัมพันธ์ระหว่างทิศทางกับวัตถุ

3.บอกตำแหน่งหรือทิศทางของวัตถุ

4.บอกตำแหน่งซ้ายหรือขวาของภาพที่เกิดจากการวางวัตถุไว้หน้ากระจก

ความหมายทักษะการคำนวน

ทักษะการคำนวน หมายถึง ความสามารถในการับจำนวนของวัตถุการบวก ลบ คูณ หาร การนับจำนวนของวัตถุการนำจำนวนตัวเลขมากำหนดบอกลักษณะต่างๆ เช่น ความกว้าง ความยาว ความสูง พื้นที่ปริมาตร น้ำหนัก

1.การนับจำนวนของวัตถุ

2.การบวก ลบ คูณ หาร

3.การนำจำนวนตัวเลขมากำหนดหรือบอกลักษณะต่างๆของวัตถุ





สาระการเรียนรู้มี 4 เรื่อง
1.ตัวเรา
2.สิ่งที่อยู่รอบตัว
3.สถานที่

4.

วันจันทร์ที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

วันพุธที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ.2554 อาจารย์นัดทำกิจกรรมเสริม เกี่ยวกับการรณรงค์การลด ละ เลิกสิงเสพติด




ภาพกิจกรรม


วาดภาพรณรงค์ ลด ละ เลิก สิ่งเสพติด
เดินรณรงค์ ลด ละ เลิก สิ่งเสพติด
เด็กๆโชว์ผลงานวาดภาพ
รณรงค์ ลด ละ เลิก สิ่งเสพติด

เด็กๆวาดภาพรณรงค์ลด ละ เลิกสิ่งเสพติด




การทดลองการทำงานของไตเมื่อดื่มสุรา



เด็กๆสนใจและดูการทดลองการทำงานของไตเมื่อดื่มสุรา








วีดีโอ เด็กๆร่วมกันร้องเพลง ลด ละ เลิกสิ่งเสพติด



วันพฤหัสบดีที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

ครั้งที่ 5 วันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

มีการนำเสนองานกลุ่มของกลุ่มที่ค้างไว้เมื่ออาทิตย์ที่แล้ว
อาจารย์พูดถึงเรื่องการนำเสนองาน






วันอังคารที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

ครั้งที่ 4 วันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ.2554

วันนี้ อาจารย์ให้นำเสนองานกลุ่มของแต่ละกลุ่ม
กลุ่มของดิฉันได้เสนองานเรื่องจิตวิทยาการเรียนรู้
กิจกรรมวิทยาศาสตร์ เรื่องขวดเป่าลูกโป่ง

วันอังคารที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

ครั้งที่ 3 วันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ.2554

วันนี้มีการนำเสนองานกลุ่ม มีทั้งหมด 4 กลุ่ม
1.
2.
3.
4.การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์

บรรยากาศในห้องเรียนวันนี้ไม่ค่อยดีนัก
อาจารย์พูดถึงเรื่องการนำเสนอว่าไม่ให้ออกไปยืนเรียงแถวหน้ากระดานแล้วอ่านให้เพื่อนฟัง
-การนำเสนองานแบบเดิมๆ อาจารย์แนะนำให้มีการนำเสนองานในรูปแบบใหม่ๆ

-แต่ละกลุ่มไม่ค่อยจะมีความพร้อมในการนำเสนองาน
-แต่ละกลุ่มเตรียมอุปกรณ์มาไม่พร้อมและไม่เพียงพอ
วิทยาศาสตร์ หมายถึง ความสามารถในการคิดที่ต้องอาศัยกระบวนการทางสติปัญญา ความคิดและประสบการณ์เดิมของบุคคลมาประกอบกันเพื่อแก้ไขปัญหาที่ประสบในสถานการณืที่กำหนดให้ ซึ่งวัดได้จากแบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
สื่อ คือ ตัวกลาง

วันอังคารที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2554

ครั้งที่ 2 วันที่ 28 มิถุนายน 2554

อาจารย์เข้าสอน 12:45
วันนี้อาจารย์เปิดเพลงไอน้ำให้ฟัง










การจัดประสบการณ์การสอนมี3ขั้น
1.ขั้นนำ
2.ขั้นสอน
3.ขั้นสรุป
ถ้าเป็นวิทยาศาสตร์
ตั้งสมมติฐาน==>ทดลอง==>จดบันทึก


วันพุธที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2554

ครั้งที่ 1 วันที่ 21 มิถุนายน 2554

วันนี้เป็นวันแรกที่เรียนวิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

วันนี้อาจารย์ได้อธิบายและให้นักศึกษาทำความเข้าใจเกี่ยวกับชื่อวิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

=>ประสบการณ์ทำให้เกิดดการเรียนรู้ การรับรู้ มีทั้งด้านบวก และด้านลบ


=>ทักษะทางวิทยาศาสตร์

=>การจัด คือ การวางแผน การออกแบบ

=>ประสบการณ์ คือ การรับรู้ การเรียนรู้

=>วิทยาศาสตร์ คือ สิ่งที่อยู่รอบตัวเรา มีทั้งสิ่งมีชีวิต และไม่มีชีวิต


เนื้อหา ทักษะ =>สังเกตุ=>ทดลอง=>ตั้งสมมติฐาน=>บันทึก=>สรุป

เด็กปฐมวัย => เด็กแรกเกิด-6ปี

ลักษณะ=> เป็นตัวของตัวเอง ชอบสังเกตุ ชอบถาม ขี้สงสัย

ความต้องการ -ชอบที่จะทำให้ผู้ใหญ่พอใจและได้คำชม

ความสามารถ -ทำอะไรเองได้

พัฒนาการ -รับลูกบอลได้ ร้อยลูกปัดได้

วิธีการเรียนรู้ -รู้จักใช้คำถาม

และอาจารย์ได้พูดถึงการสร้างและส่วนประกอบของBlogger ว่าต้องมีอะไรบ้าง

1.ชื่อและคำอธิบายบล็อก

2.รูปและข้อมูลผู้เรียน

3.ปฏิทินและนาฬิกา

4.เชื่อมโยงบล็อกอาจารย์ผู้สอน

-หน่วยงานสนับสนุน

-แนวการสอน

-งานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์

-บทความ

-สื่อ(เพลง, เกม, นิทาน, แบบฝึกหัด, ของเล่น)

-แนวการเขียนอนุทินเพื่อบันทึกหลังการเรียน